วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2555

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่15  วันอังคารที่  18  กันยายน 2555
            -ให้ทำแบบประเมินสองแบบ
            -แนะนำเทคนิควิธีการ การอัปโหลดไฟล์งานในไดรฟ์
            -แนะนำการทำรายงานการจัดหน้าต่างๆ
            -การใช้ฟรอนต์ในการทำรายงานให้ใช้     Th sarabun PSK
            -อธิบายขนาดการแบ่งหน้ายกของกระดาษแต่ละขนาด  และความเหมาะสมในการนำไปใช้




การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 14  วันอังคาร ที่ 11  กันยายน   2555

              ปัจจับีนซอฟแวร์มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด  เพราะฉนั้นนักออกแบบจึงต้องมีการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆอยู่เสมอโดยอาจารย์จะแนะนำโปรแกรมจาก  http://packmage.com/  ก่อนอื่นจะต้องมีการสมัครเป็น member  ถึงจะได้   การดาวโหลดโปรแกรมต่างๆเมื่อสมัครให้ข้อมูลไปแล้ว  จะมี ข้อตวามตอบกลับมาให้ทางgmail   เราก็จะได้ Username และ  รหัสผ่าน
             และมีการทดสอบการทำ  Artwork  ในIllustrator ด้วย










                       Artwork








การเรียนการสอนสัปดาห์ที่13  วันอังคาร  ที่ 4 กันยายน  2555

            การเรียนการสอนในวันนี้เป็น  การนำเสนอข่าวส่วนบุคคลโดยข่าวที่นำเสนอเป็นข่าวแรกเป็นข่าวเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์  ซอสไฮด์  ซึ่งลักษณะจะครอบคลุมการใช้งาน 2 แบบใน 1เดียว
ที่มาจากhttps://docs.google.com/document/d/196W9ajEqYN9JYHDD0Kppq9TumvIyi8Wqy594XKPduIY/edit
โดยมีทั้งการ Dip(จุ่ม)  และ Squeeze(บีบ)

        การรายงานข่าวเรื่องที่ 2  เป็นกล่องบรรจุภัณฑ์แบบเก๋ๆจาก  Stafidenios  ที่มาจาก http://www.matadog.com/brandingandpackaging/images/4side_packaging.jpg เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ขายลูกเกตสำหรับเด็ก ซึ่งด้านในซ่อนของเล่นเอาไว้  เป็นลูกเล่นของกล่อง เป็นตัวละครที่ดูเรียบง่าย ไม่รุนแรง  การสร้างตัวลครก็ไม่ต้องใช้กาวหรือกรรไกร  เพราะกลุ่มเป้าหมายคือ  เด็กๆ

กล่องบรรจุภัณฑ์ลูกเกตสำหรับเด็กสามารถพับเป็นตัวละครสัตว์ได้


วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

การเรียนการสอนในสัปดาห์ที่.  12วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555


การเรียนการสอนในสัปดาห์นี้.  อาจารย์ ให้นำเสนอผลงาน
เป็นรายบุคคล. เรียงตามรายชื่อ เพื่อเสนอข้อผิดพลาด. และชี้แนะให้แก้ไขปรับปรุง
ในส่วนของการนำเสนอส่วนตัวนั้น.    อาจารย์ได้แจ้งให้ทราบว่ากราฟิกที่ทำมายังผิดอยู่.
ยังต้องมีการปรับปรุงอีกมาก.









วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่  11   วันที่  21 สิงหาคม

บรรรยากาศการเรียนการสอนในห้องเรียน  ในชั่วการเรียนการสอนของวันนี้ อาจารย์ได้แนะนำวิธีการออกแบบจากโปรแกรม  Adobe Liiustrator  การสร้าง Fornt  เพื่อทำไปใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์และการสร้างสรรค์ตัวอักษรตามความเหมาะสมที่จะนำไปใช้  พวกวิธีาการดาวโหลด  การเวคเตอร์ต่างๆ


                                                         บรรยากาศภายในห้องเรียน







-หลังจากที่สอนเสร็จแล้วแล้ อาจารย์ก็ตรวจความคืบหน้าของงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ประเภทบุคคลต่อโดยผลงานของข้าพเจ้าอาจารย์ได้แนะนะว่าให้ใช้กล่องแบบเหลี่ยมเพื่อความเหมาะสมและง่ายต่อการจัดส่ง  อีกทั้งรูปแบบที่ทำมานั้น ยังไม่สื่อถึงข้าวที่ชัดเจน
-อาทิตย์หน้าขอดู Art Work เป็นไฟล์ Ai ในแบบที่อาจารย์แนะนำมาส่งด้วย



งานของสัปดาห์นี้
ได้รับคำแนะนำมาตามสมควร


วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 14 สิงหาคม  2555


  มีการตรวจความคืบหน้า ของงาน Final  ว่ามีความคืบหน้าไปขนาดใหนบ้าง









มีการแนะนำ โปรแกรม Free  Online Barcode Generetor  ซึ่งเป็นโปรแกรมสร้างรหัสแท่งของสินค้า






บาร์โค๊ดที่ได้จากการกด ดาวโหลด จะให้ได้ ไฟล์ภาพที่ใหญ่และเมื่อนะมาใช้จริงไฟล์จะไม่แตก

บาร์โค้ด หรือ รหัสแท่ง (อังกฤษbarcode) เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบสินค้าขณะขาย, การตรวจสอบยอดการขาย และสินค้าคงคลัง เราสามารถที่จะอ่านบาร์โค้ดได้ โดยใช้เครื่องสแกนหรือเครื่องอ่านบาร์โค้ด ซึ่งวิธีนี้จะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์หรือการอ่านด้วยสายตา บางครั้งเราจะเห็นเครื่องเหล่านี้ในสถานที่ต่างๆ ซึ่งบางที่เราก็อาจจะคาดไม่ถึง ว่าจะนำไปใช้ได้
แต่เดิมมีการใช้บาร์โค้ดในร้านขายของชำและตามปกหนังสือ ต่อมาพบในร้านอุปกรณ์ประกอบรถยนต์และร้านอุปโภคบริโภคทั่วไป ในแถบยุโรป รถบรรทุกทุกคัน ที่จะต้องวิ่งระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี จะต้องใช้บาร์โค้ดที่หน้าต่างทุกคัน เพื่อใช้ในการแสดงใบขับขี่ ใบอนุญาต และน้ำหนักรถบรรทุก แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรสามารถตรวจได้ง่ายและรวดเร็ว ในขณะที่รถลดความเร็ว เครื่องตรวจจะอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด และแสดงข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทันที

ขอบคุณข้อมูลจากhttp://th.wikipedia.org/wiki

 สำหรับบาร์โค้ดในประเทศไทยเริ่มนำมาใช้อย่างจริงจัง โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย (Thai Article Numbering Council) หรือ TANC เป็นองค์กรตัวแทน EAN ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมกรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ระบบ EAN ที่ประเทศไทยใช้นั้นจะมีลักษณะเป็นเลขชุด 13 หลัก ซึ่งมีความหมายดังนี้ 

         885 : ตัวเลข 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย

         xxxx : ตัวเลข 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต หรือรหัสสมาชิก

         xxxxx : 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสสินค้า

         x : ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนดถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิด บาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออก สื่อความหมายไม่ได้
 

ขอบคุณข้อมูลจากhttp://hilight.kapook.com/view/42269